วันอังคารที่ 23 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2553
วันศุกร์ที่ 19 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2553
ลักษณะการนำเสนอและคุณสมบัติของผู้นำเสนอที่ดี
หลังจากกำหนดจุดมุ่งหมายการนำเสนออย่างชัดเจน และวิเคราะห์ผู้รับการนำเสนอแล้วจะต้องต้องเลือกรูปแบบการนำเสนอให้เหมาะสมมีการรวบรวมข้อมูล เพื่อนำมาสนับสนุนการนำเสนอด้วยการนำมาเขียนคำกล่าวนำและเนื้อเรื่องตลอดจนคำสรุป รวมทั้งจะต้องจัดเตรียมการใช้โสตทัศนูปอุปกรณ์ ตามความเหมาะสม
ในการนำเสนอผลงานให้ประสบผลสำเร็จตามวัตถุประสงค์นั้นอาจแบ่งได้เป็น 3 ขั้นตอนดังนี้
1. เตรียมให้พร้อม
2. ซ้อมให้ดี
3. มีบุคลิกมั่นใจ
1.1 การเลือกรูปแบบการนำเสนอ เป็นการพิจารณาความเหมาะสมว่าจะให้การนำเสนอรูปแบบใด จึงจะเหมาะสม วัตถุประสงค์ของการนำเสนอ เหมาะกับลักษณะและความต้องการหรือไม่
1.2 การรวบรวมข้อมูล ผู้นำเสนอจะต้องทำความเข้าใจข้อมูลต่าง ๆให้แจ่มชัด การนำเสนอเอกสาร ข้อมูลประกอบจะต้องมีความรอบคอบ จัดทำเป็นระบบระเบียบ การนำเสนอผลงานประกอบคำบรรยายภาพ ไม่ควรอธิบายเพียงสิ่งที่อยู่บนจอภาพ ควรพูดถึงที่มาของกระบวนการคิด ปัญหาข้อผิดพลาดและความสำเร็จ เพื่อให้รู้สนใจ ทั้งงานของคุณและตัวคุณเอง
1.3 การเตรียมคำพูด กล่าวนำ เนื้อเรื้อง และคำสรุป เป็นขั้นตอนที่สำคัญ การกล่าวนำให้น่าสนใจ เร้าความรู้สึกใคร่รู้ ให้ส่วนกลางฟัง ซึ้งไม่ควร จะมีความยาวเกินกว่า 10 % ของเนื้อหาทั้งหมด
ส่วนเนื้อเรื่อง จะต้องประมวลความคิดด้วยการรวบรวมข้อมูลสถิติหลักฐาน มีการคิดเหตุผล และจัดลำดับความคิดนำมาเรียบเรียงถ้อยคำ และเลือกใช้ถ้อยคำให้สื่อความหมายตรงตามวัตถุประสงค์อย่างเหมาะสม
ส่วนคำสรุป ไม่ควรมีคำกล่าวกวน แต่จะต้องมีความสั้น กระชับ ระหว่าง 5-10 % ของเนื้อหา เพราะการสรุปเป็นการประมวลความจากเนื้อหาให้หลอมรวมกัน เพื่อเน้นย้ำสาระของเรื่องที่นำเสนอแต่ไม่ใช่การกล่าวซ้ำความในเนื้อเรื่อง
2. ซ้อมให้ดี
2.1 ซ้อมพูด เมื่อทำสื่อเพื่อการนำเสนอเสร็จ ไม่ได้หมายความว่าคุณนั้นพร้อมจะนำเสนอ ดังนั้นจงซ้อมจน กระทั่งสามารถควบคุมจังหวะและเวลาได้ และไม่รู้สึกเกร่ง ลองหาหนูทดลอง มาฟังคุณซ้อมอาจจะชวนเพื่อนหรือคนที่ไม่รู้จักมาฟังจะดีมาก
ยืนพูด ให้ความสำคัญกับลักษณะ ท่าทางและเสียงพูดของคุณดูว่าฟังพูดตะกุงตะกัก
2.2 ปรับปรุงแก้ไข เป็นส่วนที่จะละเลยไม่ได้ ในการฝึกซ้อมจะพบข้อติดขัด หรือ บกพร่องอยู่ แต่ถ้าปล่อยให้เลยตามเลยไม่คิดหาวิธีแก้ไขและดำเนินปรับปรุง
3. มีบุคลิกมั่นใจ
3.1 ลักษระการนำเสนอที่ดี โดยทั่วไปควรมีดังต่อไปนี้
1. มีวัตถุประสงค์ที่ชัดเจน มีความต้องการที่แน่ชัด อะไร
2. มีรูปแบบการนำเสนอเหมาะสม มีความกะทัดรัด
3. เนื้อหาสาระดี มีความน่าเชื่อถือ
4. มีข้อเสนอที่ดี มีข้อเสนอที่สมเหตุสมผล
3.2 คุณสมบัติของผู้นำเสนอ
ในการนำเสนอด้วยวาจา คุณสมบัติอันเป็นลักษณะประจำตัวในของผู้นำเสนอ ถือได้ว่า เป็นส่วนสำคัญของความสนใจในการนำเสนอ
ผู้นำเสนอที่ประสบความสำเร็จส่วนใหญ่จะมีคุณสมบัติดังต่อไปนี้
1. มีบุคลิกดี 8
2. มีความรู้อย่างถ่องแท้ 7
3. มีความน่าเชื่อถือไว้วางใจ 9
4. มีความเชื่อมั่นในตนเอง 8
5. มีภาพลักษณ์ที่ดี 8
6. มีน้ำเสียงชัดเจน 10
7. มีจิตวิทยาโน้มน้าวใจ 5
8. มีความสามารถใช้โสตทัศนอุปกรณ์9
9. มีควาช่างสังเกต 5
10. มีไหวพริบปฎิภาณในคำถามดี 9
หลังจากกำหนดจุดมุ่งหมายการนำเสนออย่างชัดเจน และวิเคราะห์ผู้รับการนำเสนอแล้วจะต้องต้องเลือกรูปแบบการนำเสนอให้เหมาะสมมีการรวบรวมข้อมูล เพื่อนำมาสนับสนุนการนำเสนอด้วยการนำมาเขียนคำกล่าวนำและเนื้อเรื่องตลอดจนคำสรุป รวมทั้งจะต้องจัดเตรียมการใช้โสตทัศนูปอุปกรณ์ ตามความเหมาะสม
ในการนำเสนอผลงานให้ประสบผลสำเร็จตามวัตถุประสงค์นั้นอาจแบ่งได้เป็น 3 ขั้นตอนดังนี้
1. เตรียมให้พร้อม
2. ซ้อมให้ดี
3. มีบุคลิกมั่นใจ
1.1 การเลือกรูปแบบการนำเสนอ เป็นการพิจารณาความเหมาะสมว่าจะให้การนำเสนอรูปแบบใด จึงจะเหมาะสม วัตถุประสงค์ของการนำเสนอ เหมาะกับลักษณะและความต้องการหรือไม่
1.2 การรวบรวมข้อมูล ผู้นำเสนอจะต้องทำความเข้าใจข้อมูลต่าง ๆให้แจ่มชัด การนำเสนอเอกสาร ข้อมูลประกอบจะต้องมีความรอบคอบ จัดทำเป็นระบบระเบียบ การนำเสนอผลงานประกอบคำบรรยายภาพ ไม่ควรอธิบายเพียงสิ่งที่อยู่บนจอภาพ ควรพูดถึงที่มาของกระบวนการคิด ปัญหาข้อผิดพลาดและความสำเร็จ เพื่อให้รู้สนใจ ทั้งงานของคุณและตัวคุณเอง
1.3 การเตรียมคำพูด กล่าวนำ เนื้อเรื้อง และคำสรุป เป็นขั้นตอนที่สำคัญ การกล่าวนำให้น่าสนใจ เร้าความรู้สึกใคร่รู้ ให้ส่วนกลางฟัง ซึ้งไม่ควร จะมีความยาวเกินกว่า 10 % ของเนื้อหาทั้งหมด
ส่วนเนื้อเรื่อง จะต้องประมวลความคิดด้วยการรวบรวมข้อมูลสถิติหลักฐาน มีการคิดเหตุผล และจัดลำดับความคิดนำมาเรียบเรียงถ้อยคำ และเลือกใช้ถ้อยคำให้สื่อความหมายตรงตามวัตถุประสงค์อย่างเหมาะสม
ส่วนคำสรุป ไม่ควรมีคำกล่าวกวน แต่จะต้องมีความสั้น กระชับ ระหว่าง 5-10 % ของเนื้อหา เพราะการสรุปเป็นการประมวลความจากเนื้อหาให้หลอมรวมกัน เพื่อเน้นย้ำสาระของเรื่องที่นำเสนอแต่ไม่ใช่การกล่าวซ้ำความในเนื้อเรื่อง
2. ซ้อมให้ดี
2.1 ซ้อมพูด เมื่อทำสื่อเพื่อการนำเสนอเสร็จ ไม่ได้หมายความว่าคุณนั้นพร้อมจะนำเสนอ ดังนั้นจงซ้อมจน กระทั่งสามารถควบคุมจังหวะและเวลาได้ และไม่รู้สึกเกร่ง ลองหาหนูทดลอง มาฟังคุณซ้อมอาจจะชวนเพื่อนหรือคนที่ไม่รู้จักมาฟังจะดีมาก
ยืนพูด ให้ความสำคัญกับลักษณะ ท่าทางและเสียงพูดของคุณดูว่าฟังพูดตะกุงตะกัก
2.2 ปรับปรุงแก้ไข เป็นส่วนที่จะละเลยไม่ได้ ในการฝึกซ้อมจะพบข้อติดขัด หรือ บกพร่องอยู่ แต่ถ้าปล่อยให้เลยตามเลยไม่คิดหาวิธีแก้ไขและดำเนินปรับปรุง
3. มีบุคลิกมั่นใจ
3.1 ลักษระการนำเสนอที่ดี โดยทั่วไปควรมีดังต่อไปนี้
1. มีวัตถุประสงค์ที่ชัดเจน มีความต้องการที่แน่ชัด อะไร
2. มีรูปแบบการนำเสนอเหมาะสม มีความกะทัดรัด
3. เนื้อหาสาระดี มีความน่าเชื่อถือ
4. มีข้อเสนอที่ดี มีข้อเสนอที่สมเหตุสมผล
3.2 คุณสมบัติของผู้นำเสนอ
ในการนำเสนอด้วยวาจา คุณสมบัติอันเป็นลักษณะประจำตัวในของผู้นำเสนอ ถือได้ว่า เป็นส่วนสำคัญของความสนใจในการนำเสนอ
ผู้นำเสนอที่ประสบความสำเร็จส่วนใหญ่จะมีคุณสมบัติดังต่อไปนี้
1. มีบุคลิกดี 8
2. มีความรู้อย่างถ่องแท้ 7
3. มีความน่าเชื่อถือไว้วางใจ 9
4. มีความเชื่อมั่นในตนเอง 8
5. มีภาพลักษณ์ที่ดี 8
6. มีน้ำเสียงชัดเจน 10
7. มีจิตวิทยาโน้มน้าวใจ 5
8. มีความสามารถใช้โสตทัศนอุปกรณ์9
9. มีควาช่างสังเกต 5
10. มีไหวพริบปฎิภาณในคำถามดี 9
วันจันทร์ที่ 8 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2553
ครั้งที่ 8 สื่อไตเติ้ลรายการ
สื่อไตเติ้ลรายการ
+เทคนิคการนำเสนอ แนวคิคเกี่ยวกับการสร้างสรรค์ งานโฆษณาในการสร้างสรรค์ผลงานให้ประสบความสำเร็จหลักการสร้างสื่อ เพื่อการนำเสนอผลงานที่ดีตัวอย่างกรณีศึกษา สื่อไตเติ้ลรายการ Titleศิลปะในการนำเสนอไม่ได้จำกัดอยู่เพียงแต่มุมกล้องการจัดเสนอที่สวยงาม สื่ออารมณ์ และความมายตามที่ผู้ผลิต รายการต้องการเท่านั้น ยังมีศิลปะของการนำเสนออีกรูปแบบหนึ่งที่ทุกรายการจะขาดไม่ได้ นั้นคือ ส่วนที่เรียกว่าเป็น ส่วนประกอบรายการ อันได้แก่ ไตเติ้ล ตตัวอย่างรายการ อินเตอร์ลูคหรือดีซีน และทัศนรายการ
ไตเติ้ล คือส่วนประกอบรายการโทรทัศน์ ที่ทำหน้าที่บอกชื่อรายการโดยปกติจะอยู่ ในส่วนทายสุดของรายการ
+1. รูปแบบการนำเสนอ
+2. ลักษณะของภาพ
+3. ทัศนสารที่ใช้สร้างเรื่อง
+4. ตัวอักษรชื่อรายการ
+5. ลำดับการนำเสนอ
+6. การใช้เสียง
+7. ความยาว
+8. ลีลา
1.รูปแบบการนำเสนอไตเติ้ลรายการ คือ วิธีการเล่าเรื่องด้วยภาพที่ปรากฎในไตเติ้ลรายการ
-1.1 การใช้ชื่อรายการ มีการใช้เฉพาะ ชื่อรายการเท่านั้นในการนำเสนอ โดยปราศจากภาพที่จะช่วยขยายความหรือเล่าเรื่อง
-1.2 การใช้สัญลักษณ์ สัญลักษณ์ เป็ฯสิ่งที่ใช้แทนความหมายของสิ่งใดสิ่งหนึ่ง โดยเป็นที่ยอมรับกันทั่วไป
-1.3 การนำเสนอบุคคล การนำเสนอบุคคลในไตเติ้ล รายการมี 3 ลักษณะ คือ การแนะนำผู้ดำเนินรายการหรือพิธีกร การแนะนำนักแสดง และการนำเสนอแขกรับเชิญ
-1.4 การใช้ภาพแสดงเนื้อหา ภาพแสดงเนื้อหาที่ใช้เป็นรูปแบบการนำเสนอไตเติ้ล ทำให้ผู้ชมทราบได้เป็นอย่างดี
-1.5 การสร้างโครงเรื่อง โดยปกติแล้วโครงเรื่องเป็ฯส่วนประกอบสำคัญของการเล่าเรื่องเป็ฯรูปแบบละคร
+2. ลักษณะของภาพไตเติ้ลรายการที่ดี
-2.1 ชนิดภาพ มีการสร้างสรรค์ภาพโดยใช้ภาพที่ถ่ายจริง มักเป็นไตเติ้ล
-2.2 มุมมองภาพ ที่ปรากฎ มักเป็นภาพประเภท- Simple shot คือ เป็นภาพที่มีเพียงวัตถุเท่านั้นที่เคลื่อนไหว- Developing shot คือ เป็นภาพที่ประกอบขึ้นจากการเคลื่อนไหวของเลนส์- Complex shot คือ เป็นภาพประกอบขึ้นจากการเคลื่อนไหวของเลนส์ (ซูมเข้า-ซูมออก หรือเปลี่ยนระยะชัด)
-2.3 ลำดับภาพ คือ วิธีการเรียงร้อยภาพเข้าไว้ด้วยกันเพื่อการสื่อสารไปยังผู้ชม- การตัดภาพ คือ เป็นการนำเสนอภาพหนึ่งไปต่อท้ายอีกภาพหนึ่ง- การจางซ้อนภาพ คือ เป็นการนำเสนอภาพหนึ่ง ไปเชื่อมทั้งภาพหนึ่ง โดยที่ในช่วงการเชื่อมต่อ ช่วงท้ายของภาพแรกค่อย ๆ จางหาย- การกวาดภาพ คือ เป็นการนำเสนอภาพหนึ่งไปเชื่อมกับอีกภาพหนึ่ง โดยช่วงการเชื่อมต่อยังคงเห็นทั้งสองภาพ มีความชัดเท่านั้น
+3.ทัศนสารที่ใช้สร้างเรื่อง ได้แก่ พื้นที่ เส้น รูปร่าง ความเข้มสี สี การเคลื่อนไหว และจังหวะ
-3.1 พื้นที่ การใช้พื้นหลังให้เป็นสามมิติ
-3.2 เส้น ปรากฎอยู่ในทุกส่วนของภาพ เพราะเมื่อมีความแตกต่างของความเข้มสีหรือสีตัดกันอย่างชัดเจน เส้นจะพบเห็นในไตเติ้ล
-3.3 รูปร่าง การใช้รูปร่างพื้นฐาน ได้แก่ วงกลม สี่เหลี่ยม และสามเหลี่ยม สำหรับรูปร่างพื้นฐาน สองมิติ และทรงกลม ลูกบาศก์
-3.4 สีและความเข้มสี สีแต่ละสีให้อารมณ์
สีแดง - ตื่นเต้นเร้าใจ
สีเหลือง - ดูสดใส ศักดิ์สิทธิ์
สีน้ำเงิน - หนักแน่นมีราคา
สีฟ้า - ให้ความสุขสบาย โปร่ง
สีเขียว - ความรุ้สึกสดชื่น
สีม่วง - มีเสน่ห์ ลึกลับ
สีชมพู - รู้สึกนุ่มนวล
สีสันหลากหลาย สดใส สนุกสนาน
+เทคนิคการนำเสนอ แนวคิคเกี่ยวกับการสร้างสรรค์ งานโฆษณาในการสร้างสรรค์ผลงานให้ประสบความสำเร็จหลักการสร้างสื่อ เพื่อการนำเสนอผลงานที่ดีตัวอย่างกรณีศึกษา สื่อไตเติ้ลรายการ Titleศิลปะในการนำเสนอไม่ได้จำกัดอยู่เพียงแต่มุมกล้องการจัดเสนอที่สวยงาม สื่ออารมณ์ และความมายตามที่ผู้ผลิต รายการต้องการเท่านั้น ยังมีศิลปะของการนำเสนออีกรูปแบบหนึ่งที่ทุกรายการจะขาดไม่ได้ นั้นคือ ส่วนที่เรียกว่าเป็น ส่วนประกอบรายการ อันได้แก่ ไตเติ้ล ตตัวอย่างรายการ อินเตอร์ลูคหรือดีซีน และทัศนรายการ
ไตเติ้ล คือส่วนประกอบรายการโทรทัศน์ ที่ทำหน้าที่บอกชื่อรายการโดยปกติจะอยู่ ในส่วนทายสุดของรายการ
+1. รูปแบบการนำเสนอ
+2. ลักษณะของภาพ
+3. ทัศนสารที่ใช้สร้างเรื่อง
+4. ตัวอักษรชื่อรายการ
+5. ลำดับการนำเสนอ
+6. การใช้เสียง
+7. ความยาว
+8. ลีลา
1.รูปแบบการนำเสนอไตเติ้ลรายการ คือ วิธีการเล่าเรื่องด้วยภาพที่ปรากฎในไตเติ้ลรายการ
-1.1 การใช้ชื่อรายการ มีการใช้เฉพาะ ชื่อรายการเท่านั้นในการนำเสนอ โดยปราศจากภาพที่จะช่วยขยายความหรือเล่าเรื่อง
-1.2 การใช้สัญลักษณ์ สัญลักษณ์ เป็ฯสิ่งที่ใช้แทนความหมายของสิ่งใดสิ่งหนึ่ง โดยเป็นที่ยอมรับกันทั่วไป
-1.3 การนำเสนอบุคคล การนำเสนอบุคคลในไตเติ้ล รายการมี 3 ลักษณะ คือ การแนะนำผู้ดำเนินรายการหรือพิธีกร การแนะนำนักแสดง และการนำเสนอแขกรับเชิญ
-1.4 การใช้ภาพแสดงเนื้อหา ภาพแสดงเนื้อหาที่ใช้เป็นรูปแบบการนำเสนอไตเติ้ล ทำให้ผู้ชมทราบได้เป็นอย่างดี
-1.5 การสร้างโครงเรื่อง โดยปกติแล้วโครงเรื่องเป็ฯส่วนประกอบสำคัญของการเล่าเรื่องเป็ฯรูปแบบละคร
+2. ลักษณะของภาพไตเติ้ลรายการที่ดี
-2.1 ชนิดภาพ มีการสร้างสรรค์ภาพโดยใช้ภาพที่ถ่ายจริง มักเป็นไตเติ้ล
-2.2 มุมมองภาพ ที่ปรากฎ มักเป็นภาพประเภท- Simple shot คือ เป็นภาพที่มีเพียงวัตถุเท่านั้นที่เคลื่อนไหว- Developing shot คือ เป็นภาพที่ประกอบขึ้นจากการเคลื่อนไหวของเลนส์- Complex shot คือ เป็นภาพประกอบขึ้นจากการเคลื่อนไหวของเลนส์ (ซูมเข้า-ซูมออก หรือเปลี่ยนระยะชัด)
-2.3 ลำดับภาพ คือ วิธีการเรียงร้อยภาพเข้าไว้ด้วยกันเพื่อการสื่อสารไปยังผู้ชม- การตัดภาพ คือ เป็นการนำเสนอภาพหนึ่งไปต่อท้ายอีกภาพหนึ่ง- การจางซ้อนภาพ คือ เป็นการนำเสนอภาพหนึ่ง ไปเชื่อมทั้งภาพหนึ่ง โดยที่ในช่วงการเชื่อมต่อ ช่วงท้ายของภาพแรกค่อย ๆ จางหาย- การกวาดภาพ คือ เป็นการนำเสนอภาพหนึ่งไปเชื่อมกับอีกภาพหนึ่ง โดยช่วงการเชื่อมต่อยังคงเห็นทั้งสองภาพ มีความชัดเท่านั้น
+3.ทัศนสารที่ใช้สร้างเรื่อง ได้แก่ พื้นที่ เส้น รูปร่าง ความเข้มสี สี การเคลื่อนไหว และจังหวะ
-3.1 พื้นที่ การใช้พื้นหลังให้เป็นสามมิติ
-3.2 เส้น ปรากฎอยู่ในทุกส่วนของภาพ เพราะเมื่อมีความแตกต่างของความเข้มสีหรือสีตัดกันอย่างชัดเจน เส้นจะพบเห็นในไตเติ้ล
-3.3 รูปร่าง การใช้รูปร่างพื้นฐาน ได้แก่ วงกลม สี่เหลี่ยม และสามเหลี่ยม สำหรับรูปร่างพื้นฐาน สองมิติ และทรงกลม ลูกบาศก์
-3.4 สีและความเข้มสี สีแต่ละสีให้อารมณ์
สีแดง - ตื่นเต้นเร้าใจ
สีเหลือง - ดูสดใส ศักดิ์สิทธิ์
สีน้ำเงิน - หนักแน่นมีราคา
สีฟ้า - ให้ความสุขสบาย โปร่ง
สีเขียว - ความรุ้สึกสดชื่น
สีม่วง - มีเสน่ห์ ลึกลับ
สีชมพู - รู้สึกนุ่มนวล
สีสันหลากหลาย สดใส สนุกสนาน
วันจันทร์ที่ 11 มกราคม พ.ศ. 2553
ครั้งที่7 ทำอักษรใน Illustrator
การทำ เงา อักษร Illustrator
1.เปิดโปรแกรม Illustrator
2.พิมพ์ข้อความ เช่น BIG ปรับขนาดตามต้องการ
3.เปลี่ยนสี Fill และสีเส้นตรง stroke
4.object Transform Reflect
คลิก Angle ปรับ 180 องศา Preview copy
5.Object Croup
6.Effect - 3D Extrude&Bevel คลิก Preview
ขยับกล่องตามต้องการ ปรับหมุน องศา
Extrude Doptr ปรับมิติ หนา
more Options ปนับแสง New Light ทำแสงตำแหน่งที่2 คลิก OK
7.คลิก Default Fill and stroke
8.คลิก Rectangle ครอบ อักษร
9.คลิก Window Transparency ตามด้วย Mark opacity mark
10.คลิก Show Gradient swatches คลิก ช่อง ขาวดำ
11.Gradient ดึงให้แสงตามต้องการ
12.Opacity ปรับแสงเงา ด้านล่าง
สำเร็จ ดังรูป
1.เปิดโปรแกรม Illustrator
2.พิมพ์ข้อความ เช่น BIG ปรับขนาดตามต้องการ
3.เปลี่ยนสี Fill และสีเส้นตรง stroke
4.object Transform Reflect
คลิก Angle ปรับ 180 องศา Preview copy
5.Object Croup
6.Effect - 3D Extrude&Bevel คลิก Preview
ขยับกล่องตามต้องการ ปรับหมุน องศา
Extrude Doptr ปรับมิติ หนา
more Options ปนับแสง New Light ทำแสงตำแหน่งที่2 คลิก OK
7.คลิก Default Fill and stroke
8.คลิก Rectangle ครอบ อักษร
9.คลิก Window Transparency ตามด้วย Mark opacity mark
10.คลิก Show Gradient swatches คลิก ช่อง ขาวดำ
11.Gradient ดึงให้แสงตามต้องการ
12.Opacity ปรับแสงเงา ด้านล่าง
สำเร็จ ดังรูป
วันอังคารที่ 22 ธันวาคม พ.ศ. 2552
ครั้งที่ 6 หลักการสร้างสื่อเพื่อการนำเสนอที่ดี
ภาพศิลปิน
ชื่อ : วงทีโบน
ข้อมูลเบื้องต้น : ทีโบน เป็นวงเร็กเก้-สกาที่อยู่ในวงการเพลงไทยมากว่า 20 ปี ค่าย มูเซอร์วอร์นเนอร์ มิวสิกโซนี่ มิวสิก หัวลำโพง ริดดิม เจ้าของเพลงฮิต เธอเห็นท้องฟ้านั่นไหม
ทีโบน เริ่มต้นวงยุคแรกจากการเล่นประจำที่ร้านบลูมูน และร้านบลูยีนส์ โดยชื่อวง ‘ทีโบน’ นั้นนำมาจากป้ายชื่อยีห้อของกางเกงยีนส์ที่ แก๊ป-เจษฎา ธีระภินันท์ ออกแบบขาย ต่อมาทีโบนได้ไปแจมเล่นอะคูสติกกับ โอ๋ (ธีร์ ไชยเดช) ที่ร้านแซ็กโซโฟน ซึ่งเล่นมาจนถึงวันนี้นับเป็นเวลาร่วม 20 กว่าปีแล้ว และด้วยประโยค “สนใจมาเป็นซูปเปอร์สตาร์มั้ย?” คำชวนแบบทีเล่นทีจริงจาก จิก (ประภาส ชลศรานนท์) ที่มองเห็นความสามารถของวงนี้ และชักชวนให้ทีโบนเข้ามาอยู่ในวงการเป็นศิลปินออกเทปทำงานด้วยกันจึงทำให้เกิด ‘ทีโบน’ ชุดแรกขึ้นมา
ใครรู้ตัวว่าเป็นสาวกชาว เรกเก้-สกา เจอกันได้ใน คอนเสิร์ต the happy t-bone จุดนัดพบ หาดพัทยาเหนือ จ.ชลบุรี วันที่ 28 กุมภาพันธ์ 2010 เวลา 18.00-24.00 น. งานนี้สาวกเรกเก้ -สกาไม่ควรพลาด
กลุ่มเป้าหมาย : สาวก กลุ่มคนที่ชื่นชอบ ดนตรี เร๊กเก้ สกา
Concept : the happy t-bone concert
Concept : the happy t-bone concert
อารมณ์ :
1. สนุก

2. ความสุข
3. สีสัน ความเป็นเรกเก้

====================================
ตัวอย่างกรณีศึกษา สื่อป้ายโฆษณาบนเว็บ ( web Banner )
คือรูปแบบหนึ่งของโฆษณาบนเวิลด์ไวด์เว็บ เป็นการวางภาพโฆษณาลงบนหน้าเว็บแล้วทำลิงค์ กลับไปยังเว็บไซต์ที่โฆษณา ด้วยจุดประสงค์เพื่อดึงดูด ผู้เข้าชมให้เข้าไปยังเว็บ ไซต์ที่โฆษณานั้นผ่านการคลิก เว็บแบนเนอส์ สร้างขึ้นจากไฟล์รูปภาพ ทั้วไปเช่น GIF JPG PNG หรือใช้จาวาสคริปส์ เชื่อมโยงเทคโนโลยี
มัลติมีเดียอย่างอื่น เช่น แฟลช ข้อความ จาวา หรือซิลเวอร์ไลต์ เป็นต้น และอาจมีการใช้ภาพเคลื่อนไหว เสียง หรือวีดีโอ มาผสมผสานเพื่อนำเสนอโดดเด่นมากที่สุด
การสร้างสรรค์ผลงาน
เนื้อหาที่ต้องการสื่อในเว็บแบนเนอส์ ก็คล้ายกับป้ายโฆษณาในชีวิตจริง คือการโฆษณาประชาสัมพันธ์ ให้ลูกค้า หรือคนอื่นทั่วไปพบว่ามีสินค้าหรือบริการอะไรในปัจจุบัน เพื่อเป็นทางเลือกให้กับลูกค้า
ขนาดแบนเนอร์ ที่เป็นที่นิยม
728*90 Pixel : Leader board
เป็นแบนเนอร์ขนาดนิยม ขนาดใหม่ สามารถแสดงข้อมูลสินค้าและบริการได้มาก
ตำแหน่งที่เหมาะสมที่สุด
ด้านบนถัดลงมา
องค์ประกอบที่ใช้ในการออกแบบแบนเนอร์ มี 6 ชนิด ได้แก่
1. พาดหัว
2. ข้อความโฆษณา
3. ภาพประกอบ
4. สัญลักษณ์ของผู้โฆษณา
5. สี
6. * การเคลื่อนไหวและการใช้เสียงประกอบ
หลักการออกแบบแบนเนอร์ที่ดีได้แก่
1. ตัวอักษร
2. สัญลักษณ์
3. ภาพประกอบ
4. สี
5. การจัดวาง
1. ตัวอักษร
* ขนาดและสัดส่วน ที่เหมาะสม โดยประมาณ
พาดหัว 48 pt
ข้อความ 32 pt
*รูปแบบเหมาะสม
สอดคล้องกับบุคลิก
(mood & tone )
* รูปแบบไม่ควรเกิน 2-3 แบบ
2. สัญลักษณ์
* ควรกำหนดขนาด
ให้เด่นหรือด้อย
3. ภาพประกอบ
*ควรใช้ภาพกราฟิก ในการออกแบบมากกว่าภาพถ่าย เนื่องจาก ขนาดของไฟล์ ของภาพลายเส้น (GIF) เล็กกว่าโหลดได้เร็วกว่ากับโฆษณา
4. สี
* ระบุค่าสีในระบบ RGB 216 สี
* พื้นหลังและตัวอักษรควรใช้สีตัดกันให้เด่นชัด
* จับคู่สีให้เหมาะสม ไม่ควรเกิน 2-3 สี
วันอาทิตย์ที่ 13 ธันวาคม พ.ศ. 2552
ครั้งที่ 4
เทคนิคการนำเสนอ แนวคิดเกี่ยวกับการสร้างสรรค์งานโฆษณา
ในการสร้างสรรค์งานโฆษณา ให้ประสบผลสำเร็จตามวัตถุประสงค์นั้นต้องขึ้นอยู่กับ
1. การวางกลยุทธ์ในการสร้างสรรค์
2. การนำเสนอความคิดสร้างสรรค์ ในโฆษณา
3. การสร้างสรรค์ผลงานให้โดดเด่น มีประสิทธิภาพและเหมาะสม
Execution หมายถึง การใส่เนื้อหาลงในชิ้นงานโฆษณาเป็นการนำเอาภาพ คำ และองค์ประกอบอื่น ๆของการสร้างสรรค์ มาผสมผสานกันอย่างมีศิลปะและสุนทรีเพื่อให้เกิดการสื่อข้อความที่มีประสิทธิภาพและประสิทธิผล
การนำเสนอความคิดสร้างสรรค์โฆษณา
องค์ประกอบของการสร้างสรรค์โฆษณา
เพื่อให้งานโฆษณาสามารถทะลุแนวปราการของขั้นตอนการเลือกรับรู้ของผู้บริโภคได้นั้น นอกจากยุทธวิธีทางด้านโฆษณาดูกว้างไว้เป็นแนวทางแล้ว ทั้งด้านแนวคิด (Concept) ลีลา (Tone) จุดเว้าวอน (Appeal) จุดขาย ( Selling point ) ตลอดจนแนวทางนำเสนอโดยอาศัยองค์ประกอบต่าง ๆที่แบ่งได้เป็น 2 ส่วน คือ
1. ส่วนที่เป็นคำพูด หรือ วัจนภาษา
2. ส่วนที่ไม่เป็นคำพูด หรือ อวัจนภาษา
ส่วนที่เป็นคำพูด
1.พาดหัวหลัก (Headline)
2.พาดหัวรอง ( Sub headline)
3.ข้อความโฆษณา ( copy )
4.คำบรรยายใต้ภาพ ( Caption )
5.สโลแกน ( slogan )
6.บรรทัดท้าย ( Base line )
7.ชื่อตราสินค้า ( Brand name )
ส่วนที่ไม่เป็นคำพูด
2.1 ภาพประกอบ ( lilustrations )
2.2 การจัดภาพที่ดี ( Layout )
2.3 เครื่องหมายการค้า ( Logo )
2.4 ขนาด (Size )
2.5 สี ( Colour )
2.6 ตัวอักษร ( Typography )
2.1 ภาพประกอบ มีภาพสินค้า มีวิธีการใช้สินค้า อธิบายความคิดหรือภาพไม่มีสินค้า
2.1.1 ภาพถ่าย
2.1.2 ภาพลายเส้น
2.1.3 ภาพประกอบที่มีการรวมกัน ทั้งภาพถายและภาพลายเส้น
2.2 การจัดภาพที่ดี มีความสมดุล มีจุดเด่น มีสัดส่วนที่ดี มี่ที่วางที่เหมาะสม
2.3 เครื่องหมายการค้า การแสดง เอกลักษณ์ของสินค้า อาจจะมีลายเส้น ที่ไม่ต้องมีรายละเอียดมากนัก
2.4 ขนาด ต้องมีความเด่น ความแรง ต้องขนาดใหญ่ย่อมจะดีกว่า
2.5 สี สี่ที่ดีกว่าขาวดำ แต่อาจจะมีโยงกับอารมณ์ ความรู้สึก ลีลา
2.6 ตัวอักษร สร้างอารมณ์และสร้างจินตภาพ และบุคลิกของสินค้าได้
รูปแบบการนำเสนอ
การนำเสนอภาพลักษณ์ต่าง ๆที่เกี่ยวกับโฆษณา สามารถดึงดูด ความสนใจ รูปภาพอย่างเดียว สามารถบอกอะไรได้เยอะ
ในการสร้างสรรค์งานโฆษณา ให้ประสบผลสำเร็จตามวัตถุประสงค์นั้นต้องขึ้นอยู่กับ
1. การวางกลยุทธ์ในการสร้างสรรค์
2. การนำเสนอความคิดสร้างสรรค์ ในโฆษณา
3. การสร้างสรรค์ผลงานให้โดดเด่น มีประสิทธิภาพและเหมาะสม
Execution หมายถึง การใส่เนื้อหาลงในชิ้นงานโฆษณาเป็นการนำเอาภาพ คำ และองค์ประกอบอื่น ๆของการสร้างสรรค์ มาผสมผสานกันอย่างมีศิลปะและสุนทรีเพื่อให้เกิดการสื่อข้อความที่มีประสิทธิภาพและประสิทธิผล
การนำเสนอความคิดสร้างสรรค์โฆษณา
องค์ประกอบของการสร้างสรรค์โฆษณา
เพื่อให้งานโฆษณาสามารถทะลุแนวปราการของขั้นตอนการเลือกรับรู้ของผู้บริโภคได้นั้น นอกจากยุทธวิธีทางด้านโฆษณาดูกว้างไว้เป็นแนวทางแล้ว ทั้งด้านแนวคิด (Concept) ลีลา (Tone) จุดเว้าวอน (Appeal) จุดขาย ( Selling point ) ตลอดจนแนวทางนำเสนอโดยอาศัยองค์ประกอบต่าง ๆที่แบ่งได้เป็น 2 ส่วน คือ
1. ส่วนที่เป็นคำพูด หรือ วัจนภาษา
2. ส่วนที่ไม่เป็นคำพูด หรือ อวัจนภาษา
ส่วนที่เป็นคำพูด
1.พาดหัวหลัก (Headline)
2.พาดหัวรอง ( Sub headline)
3.ข้อความโฆษณา ( copy )
4.คำบรรยายใต้ภาพ ( Caption )
5.สโลแกน ( slogan )
6.บรรทัดท้าย ( Base line )
7.ชื่อตราสินค้า ( Brand name )
ส่วนที่ไม่เป็นคำพูด
2.1 ภาพประกอบ ( lilustrations )
2.2 การจัดภาพที่ดี ( Layout )
2.3 เครื่องหมายการค้า ( Logo )
2.4 ขนาด (Size )
2.5 สี ( Colour )
2.6 ตัวอักษร ( Typography )
2.1 ภาพประกอบ มีภาพสินค้า มีวิธีการใช้สินค้า อธิบายความคิดหรือภาพไม่มีสินค้า
2.1.1 ภาพถ่าย
2.1.2 ภาพลายเส้น
2.1.3 ภาพประกอบที่มีการรวมกัน ทั้งภาพถายและภาพลายเส้น
2.2 การจัดภาพที่ดี มีความสมดุล มีจุดเด่น มีสัดส่วนที่ดี มี่ที่วางที่เหมาะสม
2.3 เครื่องหมายการค้า การแสดง เอกลักษณ์ของสินค้า อาจจะมีลายเส้น ที่ไม่ต้องมีรายละเอียดมากนัก
2.4 ขนาด ต้องมีความเด่น ความแรง ต้องขนาดใหญ่ย่อมจะดีกว่า
2.5 สี สี่ที่ดีกว่าขาวดำ แต่อาจจะมีโยงกับอารมณ์ ความรู้สึก ลีลา
2.6 ตัวอักษร สร้างอารมณ์และสร้างจินตภาพ และบุคลิกของสินค้าได้
รูปแบบการนำเสนอ
การนำเสนอภาพลักษณ์ต่าง ๆที่เกี่ยวกับโฆษณา สามารถดึงดูด ความสนใจ รูปภาพอย่างเดียว สามารถบอกอะไรได้เยอะ
1. การอุปมาการเห็น แฝงในสำคัญ

2. การใช้ภาพเหนือจริง เป็นการนำเอาเรื่องราววัตถุที่คาดว่าจะเป็นไปไม่ได้ ความแรงมาก่อน เพ้อฝัน ภาพที่เป็นไม่ได้

3. การสร้างความผิดปกติจากของจริง สร้างความสะดุดตาด้วยความผิดปกติ

4. การรวมกันเข้าของสองสิ่งที่ไม่เกี่ยวข้องกัน

5. การใช้มุมกล้องแทนสายตาผู้ดูหรือผู้ถ่าย

6. การล้อเลียน เป็นการผลิตส่งที่ดูแปลก

7. ภาพที่มีขนาดไม่ปกติ เกิดความแปลกประหลาดให้แก่ผู้ดู

สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)