เทคนิคการนำเสนอ แนวคิดเกี่ยวกับการสร้างสรรค์งานโฆษณา
ในการสร้างสรรค์งานโฆษณา ให้ประสบผลสำเร็จตามวัตถุประสงค์นั้นต้องขึ้นอยู่กับ
1. การวางกลยุทธ์ในการสร้างสรรค์
2. การนำเสนอความคิดสร้างสรรค์ ในโฆษณา
3. การสร้างสรรค์ผลงานให้โดดเด่น มีประสิทธิภาพและเหมาะสม
Execution หมายถึง การใส่เนื้อหาลงในชิ้นงานโฆษณาเป็นการนำเอาภาพ คำ และองค์ประกอบอื่น ๆของการสร้างสรรค์ มาผสมผสานกันอย่างมีศิลปะและสุนทรีเพื่อให้เกิดการสื่อข้อความที่มีประสิทธิภาพและประสิทธิผล
การนำเสนอความคิดสร้างสรรค์โฆษณา
องค์ประกอบของการสร้างสรรค์โฆษณา
เพื่อให้งานโฆษณาสามารถทะลุแนวปราการของขั้นตอนการเลือกรับรู้ของผู้บริโภคได้นั้น นอกจากยุทธวิธีทางด้านโฆษณาดูกว้างไว้เป็นแนวทางแล้ว ทั้งด้านแนวคิด (Concept) ลีลา (Tone) จุดเว้าวอน (Appeal) จุดขาย ( Selling point ) ตลอดจนแนวทางนำเสนอโดยอาศัยองค์ประกอบต่าง ๆที่แบ่งได้เป็น 2 ส่วน คือ
1. ส่วนที่เป็นคำพูด หรือ วัจนภาษา
2. ส่วนที่ไม่เป็นคำพูด หรือ อวัจนภาษา
ส่วนที่เป็นคำพูด
1.พาดหัวหลัก (Headline)
2.พาดหัวรอง ( Sub headline)
3.ข้อความโฆษณา ( copy )
4.คำบรรยายใต้ภาพ ( Caption )
5.สโลแกน ( slogan )
6.บรรทัดท้าย ( Base line )
7.ชื่อตราสินค้า ( Brand name )
ส่วนที่ไม่เป็นคำพูด
2.1 ภาพประกอบ ( lilustrations )
2.2 การจัดภาพที่ดี ( Layout )
2.3 เครื่องหมายการค้า ( Logo )
2.4 ขนาด (Size )
2.5 สี ( Colour )
2.6 ตัวอักษร ( Typography )
2.1 ภาพประกอบ มีภาพสินค้า มีวิธีการใช้สินค้า อธิบายความคิดหรือภาพไม่มีสินค้า
2.1.1 ภาพถ่าย
2.1.2 ภาพลายเส้น
2.1.3 ภาพประกอบที่มีการรวมกัน ทั้งภาพถายและภาพลายเส้น
2.2 การจัดภาพที่ดี มีความสมดุล มีจุดเด่น มีสัดส่วนที่ดี มี่ที่วางที่เหมาะสม
2.3 เครื่องหมายการค้า การแสดง เอกลักษณ์ของสินค้า อาจจะมีลายเส้น ที่ไม่ต้องมีรายละเอียดมากนัก
2.4 ขนาด ต้องมีความเด่น ความแรง ต้องขนาดใหญ่ย่อมจะดีกว่า
2.5 สี สี่ที่ดีกว่าขาวดำ แต่อาจจะมีโยงกับอารมณ์ ความรู้สึก ลีลา
2.6 ตัวอักษร สร้างอารมณ์และสร้างจินตภาพ และบุคลิกของสินค้าได้
รูปแบบการนำเสนอ
การนำเสนอภาพลักษณ์ต่าง ๆที่เกี่ยวกับโฆษณา สามารถดึงดูด ความสนใจ รูปภาพอย่างเดียว สามารถบอกอะไรได้เยอะ
ในการสร้างสรรค์งานโฆษณา ให้ประสบผลสำเร็จตามวัตถุประสงค์นั้นต้องขึ้นอยู่กับ
1. การวางกลยุทธ์ในการสร้างสรรค์
2. การนำเสนอความคิดสร้างสรรค์ ในโฆษณา
3. การสร้างสรรค์ผลงานให้โดดเด่น มีประสิทธิภาพและเหมาะสม
Execution หมายถึง การใส่เนื้อหาลงในชิ้นงานโฆษณาเป็นการนำเอาภาพ คำ และองค์ประกอบอื่น ๆของการสร้างสรรค์ มาผสมผสานกันอย่างมีศิลปะและสุนทรีเพื่อให้เกิดการสื่อข้อความที่มีประสิทธิภาพและประสิทธิผล
การนำเสนอความคิดสร้างสรรค์โฆษณา
องค์ประกอบของการสร้างสรรค์โฆษณา
เพื่อให้งานโฆษณาสามารถทะลุแนวปราการของขั้นตอนการเลือกรับรู้ของผู้บริโภคได้นั้น นอกจากยุทธวิธีทางด้านโฆษณาดูกว้างไว้เป็นแนวทางแล้ว ทั้งด้านแนวคิด (Concept) ลีลา (Tone) จุดเว้าวอน (Appeal) จุดขาย ( Selling point ) ตลอดจนแนวทางนำเสนอโดยอาศัยองค์ประกอบต่าง ๆที่แบ่งได้เป็น 2 ส่วน คือ
1. ส่วนที่เป็นคำพูด หรือ วัจนภาษา
2. ส่วนที่ไม่เป็นคำพูด หรือ อวัจนภาษา
ส่วนที่เป็นคำพูด
1.พาดหัวหลัก (Headline)
2.พาดหัวรอง ( Sub headline)
3.ข้อความโฆษณา ( copy )
4.คำบรรยายใต้ภาพ ( Caption )
5.สโลแกน ( slogan )
6.บรรทัดท้าย ( Base line )
7.ชื่อตราสินค้า ( Brand name )
ส่วนที่ไม่เป็นคำพูด
2.1 ภาพประกอบ ( lilustrations )
2.2 การจัดภาพที่ดี ( Layout )
2.3 เครื่องหมายการค้า ( Logo )
2.4 ขนาด (Size )
2.5 สี ( Colour )
2.6 ตัวอักษร ( Typography )
2.1 ภาพประกอบ มีภาพสินค้า มีวิธีการใช้สินค้า อธิบายความคิดหรือภาพไม่มีสินค้า
2.1.1 ภาพถ่าย
2.1.2 ภาพลายเส้น
2.1.3 ภาพประกอบที่มีการรวมกัน ทั้งภาพถายและภาพลายเส้น
2.2 การจัดภาพที่ดี มีความสมดุล มีจุดเด่น มีสัดส่วนที่ดี มี่ที่วางที่เหมาะสม
2.3 เครื่องหมายการค้า การแสดง เอกลักษณ์ของสินค้า อาจจะมีลายเส้น ที่ไม่ต้องมีรายละเอียดมากนัก
2.4 ขนาด ต้องมีความเด่น ความแรง ต้องขนาดใหญ่ย่อมจะดีกว่า
2.5 สี สี่ที่ดีกว่าขาวดำ แต่อาจจะมีโยงกับอารมณ์ ความรู้สึก ลีลา
2.6 ตัวอักษร สร้างอารมณ์และสร้างจินตภาพ และบุคลิกของสินค้าได้
รูปแบบการนำเสนอ
การนำเสนอภาพลักษณ์ต่าง ๆที่เกี่ยวกับโฆษณา สามารถดึงดูด ความสนใจ รูปภาพอย่างเดียว สามารถบอกอะไรได้เยอะ
1. การอุปมาการเห็น แฝงในสำคัญ

2. การใช้ภาพเหนือจริง เป็นการนำเอาเรื่องราววัตถุที่คาดว่าจะเป็นไปไม่ได้ ความแรงมาก่อน เพ้อฝัน ภาพที่เป็นไม่ได้

3. การสร้างความผิดปกติจากของจริง สร้างความสะดุดตาด้วยความผิดปกติ

4. การรวมกันเข้าของสองสิ่งที่ไม่เกี่ยวข้องกัน

5. การใช้มุมกล้องแทนสายตาผู้ดูหรือผู้ถ่าย

6. การล้อเลียน เป็นการผลิตส่งที่ดูแปลก

7. ภาพที่มีขนาดไม่ปกติ เกิดความแปลกประหลาดให้แก่ผู้ดู

ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น